ราชาสถาน ท่องแคว้นแดนฟ้าจรดทราย เมือง จ๊อดปูร์ (Jodhpur) เมืองโรแมนติกแห่งนครสีฟ้า

บอร์ด ความรัก,ราชาสถานท่องแคว้นแดนฟ้าจรดทรายเมืองจ๊อดปูร์Jodhpurเมืองโรแมนติกแห่งนครสีฟ้า ประสบการณ์ช.. โพสท์โดย เ้กียรติกำพลราชาสถาน ท่องแคว้นแดนฟ้าจรดทราย เมือง จ๊อดปูร์ (Jodhpur) เมืองโรแมนติกแห่งนครสีฟ้า “จ๊อดปูร์” (Jodhpur) หรือเมือง โยธะปุระ นครนักรบ ที่ทั่วทั้งเมืองเป็นสีฟ้าราวกับน้ำทะเล เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองในแคว้นราชา สถาน ถูกตั้งขึ้นเป็นราชธานี โดย Rao Jodha แห่งราชวงศ์Rathor เมืองโยธปุระ มีฉายาว่าเมืองสีฟ้า ซึ่งในช่วงแรกนั้น การทาบ้านด้วยสีฟ้าจะมีเฉพาะบ้านของชาวฮินดูวรรณะพราหมณ์เท่านั้น แต่ต่อมา มีความเชื่อว่า สีฟ้าจะช่วยกันแมลงและ ทำให้บ้านเย็นในฤดูร้อน ผู้คนจึงพากันทาบ้านตัวเองด้วยสีฟ้า จนกลายเป็นสัญญลักษณ์ของเมืองจ๊อดปูร์เมืองโยธปุระ มีฉายาว่าเมืองสีฟ้า ซึ่งในช่วงแรกนั้น การทาบ้านด้วยสีฟ้าจะมีเฉพาะบ้านของชาวฮินดูวรรณะพราหมณ์เท่านั้น แต่ต่อมา มีความเชื่อว่า สีฟ้าจะช่วยกันแมลงและทำให้บ้านเย็นในฤดูร้อน ผู้คนจึงพากันทาบ้านตัวเองด้วยสีฟ้า จน กลายเป็นสัญญลักษณ์ของเมืองจ๊อดปูร์เมืองโยธปุระ มีฉายาว่าเมืองสีฟ้า ซึ่งในช่วงแรกนั้น การทาบ้านด้วยสีฟ้าจะมีเฉพาะบ้านของชาวฮินดูเมืองโยธปุระ มีฉายาว่าเมืองสีฟ้า ซึ่งในช่วงแรกนั้น การทาบ้านด้วยสีฟ้าจะมีเฉพาะบ้านของชาวฮินดูเมืองโยธปุระ มีฉายาว่าเมืองสีฟ้า ซึ่งในช่วงแรกนั้น การทาบ้านด้วยสีฟ้าจะมีเฉพาะบ้านของชาวฮินดูอาณาจักรมาร์วาร์มีฐานะเป็นรัฐภายใต้อารักขาของจักรวรรดิโมกุลอันยิ่งใหญ่ โดยส่งส่วยเป็นบรรณาการแลกกับอำนาจการปกครองตนเอง มาร์วาร์เป็นแหล่งผลิตนายทหารชั้นดีที่ส่งไปร่วมทัพกับทัพโมกุลหลายคน เมื่อแม่ทัพนายกองเหล่านี้ กลับบ้านเกิด ก็ได้นำอิทธิพลศิลปะและสถาปัตยกรรมของโมกุลมาด้วย นอกจากนี้ ยังเป็นโอกาสของพ่อค้าจากมาร์วาร์ในการ “ขยายสาขา” เสริมอิทธิพลและบทบาททางการค้าไปทั่วอินเดียเหนือที่สำคัญทางหนึ่งป้อมเมห์รานการห์ (Mehrangarh Fort) เป็น 1 ใน 4 พระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย ป้อมปราการที่ยาวเหยียดข้ามเขาถึง 125 ลูก ภายในมีพระราชวังที่สวยงามและใหญ่ที่สุด และเป็นจุดชมวิวเมืองสีฟ้าที่ดีที่สุด ไม่มีป้อมปราการแห่งไหนใน ราชาสถาน เด่นสง่าเทียบเท่า Mehrangarh Fort ไม่ว่าจะมองจากจุดไหนๆ ภายในเมือง จ๊อดปูร์ มหาปราการหินถูกสร้างบนเนินเขาสูง 122 เมตร ใน ค.ศ.1459 รู้จักกันในนามของภูจีริ (Bhaurcheeria) แปลว่าภูเขาวิหค สามารถมองเห็นตัว เมืองโยธาปุระได้โดยรอบ สามารถมองเห็นทิศทางที่ข้าศึกจะรุกรานมาได้รอบทิศ มีกำแพงหนาล้อมรอบ มีพระที่นั่งวังเล็กวังน้อยและสนามอยู่ภายในหลายหลากป้อมเมห์รานการห์ (Mehrangarh Fort) เป็น 1 ใน 4 พระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย ป้อมปราการที่ยาวเหยียดข้ามเขาถึง 125 ลูก ภายในมีพระราชวังที่สวยงามและใหญ่ที่สุดป้อมเมห์รานการห์ (Mehrangarh Fort)ป้อมเมห์รังครห์จะต้องแล้งน้ำตลอดไป เจ้าโยธาตกใจแต่ก็พะเน้าเอาใจสร้างกุฏิและวัดให้อยู่ในป้อมเพื่อไถ่โทษ ถึงกระนั้นพื้นที่แห่งนี้ก็ยังประสบปัญหาขาดน้ำทุก 3-4 ปีจริงๆ ราวอาถรรพ์คำสาป เพื่อแก้อาถรรพ์ จึงมีการฝังชายฉกรรจ์ชื่อ ราชยะ ภิมพิ ที่ถึงฆาตต้องไปลงหลุมศิลาฤกษ์ ซึ่งคุณราชยะได้ขอให้เจ้าเผ่าราธอร์ดูแลครอบครัวลูกหลานของเขาเพื่อเป็นการตอบแทนพระตำหนักโมติมาฮาล (Moti Mahal) หรือพระตำหนักไข่มุก ซึ่งมีจุดเด่นอยู่ที่การนำเปลือกหอยมุกมาบด ก่อนนำไปผสมปูนแล้วฉาบลงบนผนังห้อง ทำให้เวลาจุดเทียนตอนกลางคืนผนังห้องจะดูแวววาว ส่วนเพดานใช้กระจกสีสันสดใสตัด ขอบด้วยสีทอง เพื่อช่วยเพิ่มมิติให้ห้องโดดเด่นขึ้น แต่จุดประสงค์การใช้งานห้องนี้ใช้สำหรับมหาราชาปรึกหาหารือข้อราชการกับข้าราชบริพารระดับสูงพระตำหนักโมติมาฮาล (Moti Mahal)ประตูแห่งชัยชนะ ชัยพล (Jai Pol) สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1806 เพื่อฉลองชัยชนะที่กองทัพมาร์วาร์ สามารถต้านทานการบุกรุกจากกองทัพของมหาราชาแห่งจัยปูร์และอุไดปูร์ได้ในคราวเดียวกัน โดยร่องรอยของกระสุนปืนใหญ่ฝังอยู่บนผนังหิน ของประตู ซึ่งแสดงให้เห็นการผ่านการกรำศึกมายาวนานประตูแห่งชัยชนะ ชัยพล (Jai Pol)ประตูโลหะพล (Loha Pol) อนุสรณ์แห่งความทรงจำของเหตุการณ์ในปี ค.ศ. 1843 ที่เหล่าสนของมหาราชามาน สิงห์ (Maharaja Man Singh) กระโดดเข้ากองไฟตายตามสามี เรียกว่าประเพณีสาติ (Sati) ซึ่งถือเป็นพิธีกรรมที่มีเกียรติของ กลุ่มราชปุต แต่ประเพณีนี้ถูกสั่งห้ามเด็ดขาดในช่วงที่อินเดียอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษประตูโลหะพล (Loha Pol)พระตำหนักพูลมาฮาล (Phool Mahal) หรือพระตำหนักแห่งมวลดอกไม้ สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1724 โดยได้รับการยกย่องว่าสวยและตกแต่งได้ละเอียดอ่อนที่สุดในบรรดาพระตำหนักทั้งหมดที่อยู่ในป้อมเมห์รานการห์ ความพิเศษของพระ ตำหนักคือภาพวาดบนผนังและเพดานทั้งหมดเป็นผลงานของศิลปินเพียงท่านเดียว ซึ่งต่อมาถึงแม้จะเสียชีวิตลง แต่มหาราชาก็ไม่ได้ให้ศิลปินอื่นมาสนผลงานต่อ จึงทำให้กำแพงบางส่วนเป็นเพียงผนังโล่งที่ไม่มีการตกแต่งใดๆ ส่วนเพดานและ ผนังห้องนั้น ใช้สีทองในการตกแต่งเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนี้ ยังมีภาพวาดลายดอกไม้และเถาไม้ประดับอยู่จำนวนมาก โดยสไตล์การวาดแบบนี้มีชื่อเรียกว่า “รักมาลา” (Ragmala Painting) หมายถึง ภาพวาดแห่งสีสันและอารมณ์ความพิเศษของพระตำหนักคือภาพวาดบนผนังและเพดานทั้งหมดเป็นผลงานของศิลปินเพียงท่านเดียว ซึ่งต่อมาถึงแม้จะเสียชีวิตลง แต่มหาราชาก็ไม่ได้ให้ศิลปินอื่นมาสนผลงานต่อ จึงทำให้กำแพงบางส่วนเป็นเพียงผนังโล่งที่ไม่มีการตกแต่ง ใดๆ ส่วนเพดานและผนังห้องนั้น ใช้สีทองในการตกแต่งเป็นส่วนใหญ่ความพิเศษของพระตำหนักคือภาพวาดบนผนังและเพดานทั้งหมดเป็นผลงานของศิลปินวัด Chamunda Mataji จากนั้นไปชมอนุสรณ์สถานจัสวันต์ธาดา (Jaswant Thada) ตั้งอยู่ห่างจากป้อมเมห์รานการ์ไปประมาณ 1 กิโลเมตร สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1899 โดยสร้างจากหินอ่อน โดยมีจุดเด่นอยู่ตรงประตูและเสาที่แกะสลักได้อย่าง ละเอียดงดงาม เพื่ออุทิศให้กับมหาราชาจัสวันต์ สิงห์ที่ 2 (Maharaja Jaswant Singh ll) หลังกจากที่พระองค์เสียชีวิตไปแล้ว 4 ปี โดยพระองค์เป็นมหาราชาที่ได้รับการนับถืออย่างล้นหลามจากประชาชน นอกจากนี้ พระองค์ยังเป็นผู้ริเริ่ม โครงการชลประทาน เพื่อแก้ไขปัญหาความแห้งแล้งของเมืองด้วยจุดเด่นอยู่ตรงประตูและเสาที่แกะสลักได้อย่างละเอียดงดงาม เพื่ออุทิศให้กับมหาราชาจัสวันต์ สิงห์ที่ 2 (Maharaja Jaswant Singh ll) หลังกจากที่พระองค์เสียชีวิตไปแล้ว 4 ปี โดยพระองค์เป็นมหาราชาที่ได้รับการนับถืออย่างล้นหลามจาก ประชาชนจุดเด่นอยู่ตรงประตูและเสาที่แกะสลักได้อย่างละเอียดงดงาม